-->

Smart Speaker คืออะไร?





Laz Flash Sale ลดแรงกว่า 90%
ดีลจำกัดเวลา ให้คุณเลือกซื้อสินค้าราคาพิเศษได้ทุกวัน สินค้าลดราคากับ Flash Sale
Lazada แฟลชเซล จัดเต็มดีลฮิตทุกวัน ช้อปออนไลน์ 24 ชั่วโมง ☆ดีลจำกัดเวลาสุดฮอต ☆ลดราคาแรง ☆สินค้าหลากหลาย

ช้อปเลย





Smart Speaker คืออะไร?



Smart Speaker คืออะไร? Smart speaker หรือ “ลำโพงอัจฉริยะ” ที่กำลังได้รับความนิยมในการใช้งานอย่างแพร่หลายในปัจจุบันซึ่ง Smart speaker นั้นจะช่วยให้เราสามารถที่จะใช้งานพวกมันในการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆด้วยการใช้คำสั่งเสียงหรือว่าใช้ในการแจ้งเตือนเกี่ยวกับภูมิอากาศเวลาวันที่และเหตุการณ์สำคัญสำคัญอื่นๆให้กับคุณได้



Smart speaker ทำงานอย่างไรนั้นจะใช้เทคโนโลยีจดจำเสียงซึ่งจะช่วยให้ ตัว Smart speaker สามารถที่จะเข้าใจในคำสั่งเสียงของเราแล้วทำงานตามคำสั่งเสียงของเราในทันทีโดยนัยแต่ละผู้ผลิตก็จะมีการใช้ซอฟต์แวร์จดจำเสียงที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีของทางผู้ผลิตเองอย่างเช่นบริษัทแอปเปิ้ลนั้นก็จะใช้ Siri ซึ่งเป็นผู้ช่วยอัจฉริยะที่ใช้ระบบจดจำเสียงในการสั่งงาน Microsoft ก็จะใช้ซอฟต์แวร์ที่ชื่อว่าคนในการจดจำเสียงและแปลงออกมาเป็นคำสั่งส่วน Google นั้นก็จะใช้เทคโนโลยีของตัวเองที่มีชื่อว่า Google Assistant ในการรับข้อมูลและส่งข้อมูลระหว่างลำโพงอัจฉริยะและเซิร์ฟเวอร์เพื่อใช้ในการตีความข้อมูลและค้นหาข้อมูล ในการรับข้อมูลและส่งข้อมูลระหว่างลำโพงอัจฉริยะและเซิร์ฟเวอร์เพื่อใช้ในการตีข้อมูลและค้นหาข้อมูลของสติ๊กเกอร์มาแสดงผลให้คุณ

โดยการทำงานของ Smart Speaker แต่ละรุ่นแต่ละยี่ห้อนั้นก็จะมีความแตกต่างกันมากพอสมควรแต่ว่า Concept ในการทำงานหลักๆของ Smart speaker นั้นก็คือการรับคำสั่งด้วยการรอและจะมีการใช้ Wake Word  หรือคำที่ใช้ในการสั่งให้ลำโพงเริ่มต้นทำงานโดย Wake Word ของลำโพงแต่ละยี่ห้อนั้นก็จะมีการใช้งานคำเริ่มต้นที่แตกต่างกันอย่างเช่นค่าเริ่มต้นของ Smart speaker หรือลำโพงอัจฉริยะของ Google นั้นก็จะใช้คำว่า "OK Google" หรือ "Hey Google"  ในการสั่งงานก็ได้ สำหรับ ลำโพงอัจฉริยะของทางอเมซอนซึ่งมีชื่อเรียกว่า Amazon อเล็กซ่านั้นจะใช้คำ   Wake  Word คำว่า Alexa ในการนำหน้าคำสั่ง



หลังจากที่ลำโพงอัจฉริยะได้รับคำสั่งซึ่งเป็นคำพูดเข้ามาแล้วก็จะทำการส่งคำสั่งเสียงดังกล่าวกลับไปยัง Server เพื่อทำการตีข้อมูลผ่านทางอินเตอร์เน็ตไปยังเซิร์ฟเวอร์ที่วางระบบควบคุมลำโพงไว้เพื่อทำการแปลความหมายของข้อมูลที่ได้โดยลำโพงอัจฉริยะของ Amazon นั้นจะทำการส่งข้อมูลไปยัง Data Center ของอเมซอนที่ชื่อว่า  alexa Vice service ซึ่งเป็นระบบ Cloud ที่ได้ถูกติดตั้ง ไว้บนคราวที่สหรัฐอเมริกา

แล้วจะใช้เทคโนโลยีจดจำเสียงในการถอดรหัสเสียงหลังจากนั้นก็จะทำการส่งข้อมูลที่ได้ทำการถอดรหัสเสียงและประมวลผลแล้วกลับมายังลำโพงอัจฉริยะเพื่อตอบโต้กับผู้ใช้งานโดยกระบวนการนี้จะเกิดขึ้นหลังจากที่เราได้สั่งคำสั่งเสียงออกไปภายในระยะเวลาไม่กี่วินาที

โดยเทคโนโลยีในการจดจำเสียงนั้นจะใช้เทคโนโลยี AI เข้ามาเกี่ยวข้องโดยจะเป็นระบบ Machine Learning ที่ใช้ในการเรียนรู้จากรูปแบบของข้อมูลที่ได้รับเข้าไปยัง Server จำนวนหลายล้านข้อมูลแล้วทำการเปลี่ยนเป็นข้อมูลที่มีความใกล้เคียงมากที่สุดเพื่อที่จะช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้องมากที่สุดนั่นเอง  อย่างเช่นเทคโนโลยีการจดจำเสียงนั้นจะสามารถทำการเรียนรู้และแยกแยะได้ระหว่างคำที่เป็นคำแตกต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันอย่างเช่นคำว่าโทรศัพท์มือถือ กลับคำ มือถือซึ่งระบบ AI ของ Server นั้นจะให้ความหมายของทั้งสองคำเป็นคำเดียวกันคือหมายถึงโทรศัพท์มือถือนั่นเอง

แล้วลำโพงอัจฉริยะนั้นมีความปลอดภัยเพียงพอที่จะใช้งานหรือไม่ ? จากกระบวนการและกลไกการทำงานของลำโพงอัจฉริยะที่เราใช้งานนั้นจะเห็นได้ว่ามีการอัพโหลดข้อมูลเสียงของเราขึ้นไปยังเซิร์ฟเวอร์ของผู้ให้บริการซึ่งผู้ให้บริการส่วนมากนั้นจะมีการเข้ารหัสข้อมูลก่อนที่จะทำการส่งไปยังเซิร์ฟเวอร์และมีการเข้ารหัสข้อมูลที่ได้มีการส่งกลับมายังตัวลำโพงด้วยโดยระบบดังกล่าวได้ถูกออกแบบให้มีการคำนึงถึงความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้งานเป็นหลักโดยจะทำการลบข้อมูล กิจกรรมที่เราใช้งานออกไปเรื่อยๆและไม่มีการอนุญาตให้ใช้ข้อมูลดังกล่าวให้กับผู้ใช้งานหรืออุปกรณ์ชนิดอื่นเด็ดขาดดังนั้นจึงทำให้คุณมั่นใจได้ถึงความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของการใช้งานลำโพงอัจฉริยะดังกล่าวได้อย่างแน่นอน

แต่ข้อด้อยหลักเลยของลำโพงอัจฉริยะหรือ Smart speaker นั่นก็คือพวกมันจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตอยู่ตลอดเวลาเพื่อที่จะช่วยให้พวกมันสามารถที่จะทำการ เชื่อมต่อไปยังระบบคลาวด์เพื่อที่จะทำการถอดรหัสคำสั่งเสียงและส่งข้อมูลรวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อที่จะส่งกลับมาอย่างอุปกรณ์ของคุณนั่นเองถ้าระบบอินเตอร์เน็ตภายในบ้านของคุณมีปัญหาลำโพงอัจฉริยะจะไม่สามารถที่จะใช้งานได้เลยนั่นเอง  ถึงแม้ว่าจะมีการฝังระบบ Machine Learning และระบบจดจำเสียงมากับตัวลำโพงแล้วแต่ว่าการใช้งานนั้นยังอยู่ในปริมาณคำสั่งที่จำกัดมากและไม่สามารถที่จะใช้งานได้ครบถ้วนทุกฟังชั่นเหมือนกับที่มีการเชื่อมต่อเข้ากับคลาวบนอินเทอร์เน็ตนั่นเอง