-->

เตือนดาวเคราะห์น้อย 2006 QV89 ขนาด 40 เมตรมีแนวโน้มพุ่งชน โลกสูงมาก





Laz Flash Sale ลดแรงกว่า 90%
ดีลจำกัดเวลา ให้คุณเลือกซื้อสินค้าราคาพิเศษได้ทุกวัน สินค้าลดราคากับ Flash Sale
Lazada แฟลชเซล จัดเต็มดีลฮิตทุกวัน ช้อปออนไลน์ 24 ชั่วโมง ☆ดีลจำกัดเวลาสุดฮอต ☆ลดราคาแรง ☆สินค้าหลากหลาย

ช้อปเลย





เตือนดาวเคราะห์น้อย 2006 QV89 ขนาด 40 เมตรมีแนวโน้มพุ่งชน โลกสูงมาก



ผู้เชี่ยวชาญเตือน อุกกาบาต หรือ ดาวเคราะห์น้อย ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 40 เมตรกำลังจะเคลื่อนผ่านมาใกล้โลก และมีแนวโน้มที่จะเกิดการพุ่งชนพื้นโลกสูงมาก โดยอุกกาบาตที่มีชื่อว่า 2006 QV89 ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางมากถึง 40 เมตรกำลังจะเคลื่อนเข้ามาใกล้วงโคจรของโลกมากในวันที่ 9 กันยายนนี้ โดยขนาดของอุกกาบาตดังกล่าวนั้นหากมันตกลงยังพื้นโลก สามารถทำลายหรือสร้างความเสียหายให้เมืองเล็กๆได้เลย

Khan Academy Kids
European Space Agency (ESA) หรือ องค์การอวกาศของยุโรปได้ออกมาประเมินว่ามีโอกาสมากถึง 1 ใน 7000 ที่อุกกาบาตดังกล่าวนั้นจะเกิดการพุ่งชนโลก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เองก็ยังไม่แน่ใจว่าจะเกิดการพุ่งชนหรือไม่ แต่มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นได้สูงมากที่สุดในตอนนี้ ซึ่งถึงแม้จะไม่ได้รับการยืนยันจากนักวิทยาศาสตร์ แต่ถ้ามันมีโอกาสเกิดขึ้นแม้เพียง 1 เปอร์เซ็นต์เราก็ควรที่จะตระหนักและให้ความสนในว่าในระระเวลาอีกไม่กี่เดือนนับจากนี้หากว่าโอกาสเพียง 1% ถ้ามันเกิดขึ้นจริงเราจะรับมือกับ สถานการ นั้นอย่างไร

ดาวเคราะห์น้อย 2006 QV89
แม้ว่าอุกกาบาตขนาด 40 เมตรจะไม่สามารถทำให้เกิดการสูญพันธุ์ขนาดใหญ่แล้เป็นวงกว้างถึงขนาดทำลายล้างโลกได้ก็ดีแต่มันก็มีอานุภาพมากพอที่จะถล่มเมิงบางเมืองให้พังย่อยยับไปได้ เหมือนกรณีที่เคยพบในอดีตที่เมือง Chelyabinsk ในรัสเซีย โดยในปี 2013 นั้นอุกกาบาตขนาด 20 เมตรได้เกิดการระเบิดขึ้นเหนือเมือง  Chelyabinsk, Russia ที่ทำให้บ้านเรือนเสียหายและมีคนบาดเจ็บจากเหตุการณ์ดังกล่าวถึง 1000 ราย จะเห็นได้ว่าผลกระทบดังกล่าวกินพื้นที่เป็นวงกว้าง และส่งผลกระทบต่อประชาชนทั้งเมือง

ศาสตราจารย์ Jonti Horner นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นควีนส์แลนด์ได้กล่าวว่ายังคงมีความเสี่ยงที่ อารยะธรรมของมนุษย์อาจถูกทำลายโดยดาวเคราะห์น้อย

ในบทความของศาสตราจารย์ฮอร์นเนอร์ ได้เขียนระบุว่า: "ระบบสุริยะนั้นเต็มไปด้วยวัตถุที่หลงเหลือจากการก่อตัวของดาวเคราะห์ ส่วนใหญ่ถูกขังอยู่ในสถานที่ที่มีเสถียรภาพ เช่น Asteroid belt, the Edgeworth-Kuiper belt หรือในกลุ่มเมฆ Oort cloud  “ แต่ก็มีวัตถุบางวัตถุหลุดออกมาเข้าสู่อวกาศอย่างต่อเนื่องโดยส่งเศษซากใหม่เข้าไปในวงโคจร และยังได้กล่าวเพิ่มถึงวัตถุดังกล่าวว่า
“ ระบบสุริยจักรวาลด้านในนั้นจมอยู่กับเศษขยะตั้งแต่ฝุ่นละอองเล็ก ๆ จนถึงดาวหางและดาวเคราะห์น้อยที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางหลายกิโลเมตร
“ เศษซากส่วนใหญ่ที่ชนกับโลกนั้นไม่เป็นอันตรายอย่างสมบูรณ์ แต่ดาวเคราะห์ของเรายังคงมีรอยแผลเป็นจากการชนกับวัตถุที่มีขนาดใหญ่กว่ามาก
“ เรายังคงพยายามหาว่าเหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นบ่อยแค่ไหน ข้อมูลของเราเกี่ยวกับความถี่ของผลกระทบที่มีขนาดใหญ่ค่อนข้าง จำกัด ดังนั้นการประมาณการอาจแตกต่างกันอย่างมาก
“ โดยทั่วไปแล้วผู้คนให้เหตุผลว่าผลกระทบขนาดใหญ่ของ Tunguska เกิดขึ้นทุก ๆ สองสามร้อยปี แต่นั่นก็เป็นเพียงแค่ตัวอย่างเหตุการณ์เดียว
“ ความจริงก็คือเราไม่รู้จริง ๆ

“ ในขณะที่จำนวนของวัตถุอันตรายที่อาจเกิดขึ้นยังคงเติบโตขึ้นหลายคนยังคงไม่ถูกตรวจจับรอให้เราประหลาดใจ”

นี่แสดงให้เห็นว่ามวลมนุษยชาติของเราควรที่จะสนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการตรวจจับภัยคุกคามจากนอกโลก ต่างๆไม่ว่าจะเป็นอุกกาบาต ดาวเคราะห์น้อย รังสีแกมมา หรือรังสีต่างๆที่ได้รับการแผ่ออกมายังโลก รวมถึงภัยคุกคามทุกประเภท รวมถึง UFO ด้วยเราจะต้องมีการวางแผนรับมือกันเมื่อพบภัยคุกคามดังกล่าวต่ออารยะธรรม มนุษย์ว่า ควรป้องกัน หรือแก้ไขสถานการอย่างไรเมื่อสิ่งเหล่านั้นได้เกิดขึ้นกับโลกของเรา

Source : https://www.express.co.uk/news/science/1138694/asteroid-earth-2019-hit-earth-september-meteor-2006-QV89-european-space-agency-ESA